Tuesday, August 28, 2007

การออกแบบห้องสมุด

การออกแบบห้องสมุดยุคใหม่ ห้องสมุดโรงเรียนและห้องสมุดขนาดเล็ก
Library Space Planning Guide
ห้องสมุดมารวย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย TCDC Resource center TK Park Library
ตัวอย่างวัสดุครุภัณฑ์ห้องสมุด

Monday, August 27, 2007

Friday, August 24, 2007

Information literacy for life

What is literacy?
Literacy—the ability to read and write—is vital to a successful education (or more than that)In a technological society, the concept of literacy is expanding to include the media and electronic text, in addition to alphabetic and number systems.
What is information literacy?
"Information literacy is defined as the ability to know when there is a need for information, to be able to identify, locate, evaluate, and effectively use that information for the issue or problem at hand" (The National Forum on Information Literacy).
Information Literacy is the ability to identify what information is needed, understand how the information is organized, identify the best sources of information for a given need, locate those sources, evaluate the sources critically, and share that information. It is the knowledge of commonly used research techniques.
An information literate student will be able to locate and use resources for classes through both the library and the World Wide Web.
WHY IS INFORMATION LITERACY IMPORTANT?Information literacy is critically important because we are surrounded by a growing ocean of information in all formats. Not all information is created equal: some is authoritative, current, reliable, but some is biased, out of date, misleading, false. The amount of information available is increasing. The types of technology used to access, manipulate, and create information will likewise expand.
TutorialA Strategy for Finding, Evaluating, and Using Information
First step: What do I need?
The first step in doing research or finding information is to clearly define your information need. At the Task Definition stage, you are asking, "What exactly do I need to do, and are there any special requirements for my task?
Step 2 :Information Seeking Strategies
What type of information do you need?
What kinds of resources will help you find the information you need?
Step 3: Location and Access
Where are the resources, and how do I find the information in these resources?
Step 4 Use of Information
Step 5 Synthesis
Step 6 Evaluation
Steps of information literacy
Information literacy skills are skills you will need through your life.
Big6 Skill Big6 shoes
IL Course Outline

รัฐธรรมนูญปี 2550

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงลงพระปรมาภิไธยในร่างรัฐธรรมนูญปี 2550 แล้ว และประกาศในราชกิจจานุเบกษา มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 24 สิงหาคม 2550 เป็นต้นไป
เมื่อเวลา 14.30 น. วันที่ 24 สิงหาคม 2550 ที่ห้องรับรองพิเศษ อาคารรัฐสภา 2 นาย มีชัย ฤชุพันธุ์ ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ได้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการในร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 โดยมีนายนรนิติ เศรษฐบุตร ประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ นายพิทูร พุ่มหิรัญ เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ปฏิบัติหน้าที่เลขาธิการสภาร่างรัฐธรรมนูญ นางสุวิมล ภูมิสิงหราช เลขาธิการวุฒิสภา ปฏิบัติหน้าที่เลขาธิการสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พร้อมด้วยข้าราชการระดับสูงของรัฐสภาเข้าร่วมในพิธี อ่านรายละเอียด
ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญดังกล่าวด้วยตนเองได้ที่นี่
ข่าวจากมติชน'หมายความว่า รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 24 สิงหาคม 2550 เป็นต้นไป รัฐธรรมนูญฉบับนี้ร่างขึ้นโดยมีเจตนารมณ์ที่ต้องการนำพาประเทศไปสู่การปกครองระบอบประชาธิปไตยที่สมบูรณ์ และจัดให้มีการเลือกตั้งได้โดยเร็ว' นายมีชัยกล่าว นายมีชัย กล่าวถึงสาระสำคัญของรัฐธรรมนูญฉบับนี้ว่า จากคำปรารภในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 สรุปสาระสำคัญได้ 8 ประการ ดังนี้ 1.ธำรงไว้เพื่อรักษาเอกราชของชาติ 2.ทำนุบำรุงศาสนาทุกศาสนาให้สถิตย์สถาพร 3.เทดทูนพระมหากษัตริย์เป็นประมุขและเป็นมิ่งขวัญของชาติ 4.ยึดถือระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 5.คุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน 6.ส่งเสริมให้ประชาชนมีบทบาทและมีส่วนร่วมในการปกครองและตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐอย่างเป็นรูปธรรม 7.กำหนดกลไกของสถาบันทางการเมืองทั้งฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหารให้มีดุลยภาพและประสิทธิภาพตามวิถีการปกครองแบบรัฐสภา และ 8. มุ่งให้สถาบันศาลและองค์กรอิสระอื่นสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้โดยสุจริตเที่ยงธรรม

Thursday, August 23, 2007

ภาวะโลกร้อน

ปฏิทินวิชาการ "โลกร้อน" ประจำปีพุทธศักราช 2551
ทำไมโลกร้อน ใครก็พูดถึงภาวะโลกร้อน หรือ Global Warming
ถ้าภาวะโลกร้อนเป็นการกระทำของมนุษย์ เราจะช่วยลดปัญหานี้ได้อย่างไร เยาวชนคนรุ่นใหม่ต้องช่วยกันรักษาโลกไว้
คณะกรรมการของรัฐบาลนานาชาติว่าด้วยเรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (IPCC)องค์การด้านวิทยาศาสตร์ร่วมมือกับองค์การสหประชาชาติ เฝ้าสังเกตผลกระทบต่างๆ และได้พบหลักฐานใหม่ที่แจ่มชัดว่า ภาวะโลกร้อนขึ้นในช่วง 50 กว่าปีมานี้ส่วนใหญ่เป็นผลมาจากการกระทำของมนุษย์ ซึ่งส่งผลกระทบอย่างต่อเนื่องให้อุณหภูมิของโลกเพิ่มขึ้นในทุกหนทุกแห่ง ประมาณ 1.4-5.8 องศาเซลเซียส อ่านเพิ่มเติม
อ่านเช่นเนื้อหาใน Whyworldhot ภาวะโลกร้อนของจริงหรือไม่ อ่านเกี่ยวกับก๊าซเรือนกระจก ความรู้เกี่ยวกับโอโซนและการป้องกัน

Tuesday, August 21, 2007

คนไทยอ่านอะไร

การลงประชามติเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2550 ที่ผ่านมา ทำให้เกิดคำถามทั้งก่อนและหลังการลงประชามติว่าคนไทยอ่านร่างรัฐธรรมนูญหรือไม่ การตัดสินใจในการลงประชามติอยู่บนฐานความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหาสาระของร่างรัฐธรรมนูญมากน้อยเพียงใด เป็นเรื่องที่น่าศึกษาอย่างยิ่ง
จริงๆแล้วคนไทยอ่านอะไร การรับรู้ข่าวสารมาจากที่ใด หรือส่วนใหญ่อ่านหนังสือพิมพ์ ฟังวิทยุ ดูโทรทัศน์ หรือรับฟังความคิดเห็นจากผู้อื่น ทำไมจึงมีความแตกต่างทางความคิดและความเข้าใจอย่างมาก เป็นประเด็นคำถามที่ควรให้ความสนใจ
การอ่านจำเป็นต่อชีวิตและสร้างคนที่มีคุณภาพในสังคม อยากให้สังคมฉลาด ต้องให้เยาวชนซึ่งเป็นอนาคตของชาติรักการอ่าน และรักการเรียนรู้
นักอ่านตัวจริง ต้องอ่านเว็บนี้
อ่านข่าวประจำวัน
ความไม่พร้อมของที่อ่านหนังสือประจำหมู่บ้านของประชาชนขาดคนทำงาน และการจัดการที่ดี แล้วเมื่อไรเราจะทำให้ดี
ปรับปรุงหอสมุดแห่งชาติของไทย ให้เป็นแหล่งความรู้ของคนไทย

Sunday, August 19, 2007

ผลการลงประชามติ 19 สิงหาคม 2550

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ (ส.ส.ร.) 100 คน ตามมาตรา 23 ของรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว โดยประกาศ ณ วันที่ 1 มกราคม 2550
รายชื่อสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ ส.ส.ร.
อ่านรายงานความเคลื่อนไหวการร่างรัฐธรรมนูญ

ดูรายงานผลการลงประชามติที่นี่ ชี้ชะตารัฐธรรมนูญไทย
ภาพบรรยากาศการลงประชามติ
สาระสำคัญของรัฐธรรมนูญใหม่
อย่าเชื่อโดยไม่อ่านรัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญที่ใช้ในแต่ละยุคสมัย ขึ้นอยู่กับสภาพสังคมในขณะนั้น
สามัคคีคือพลัง แตกต่างแต่อย่าแตกแยก

Friday, August 17, 2007

ความประทับใจ กีฬามหาวิทยาลัยโลก

ความประทับใจ
เหรียญรางวัลปฏิวัติ เหรียญทองเหรียญแรก
เชิญชมงานที่ยิ่งใหญ่ พิธีปิดกีฬามหาวิทยาลัยโลก ฤดูร้อน ครั้งที่ 24 วันที่ 18 สิงหาคม 2550 ณ สนามราชมังคลากีฬาสถาน เวลา 17.00 น เป็นต้นไป( Closing Ceremony Universiade Bangkok 2007 ) นักเรียน นิสิต นักศึกษา เข้าชมฟรี อ่านรายละเอียด
ภาพจากพิธีเปิดวันที่ 8 สิงหาคม 2550 ได้รับความอนุเคราะห์ภาพจากคุณสุรพล สมาคมถ่ายภาพแห่งประเทศไทย

ภาพจากพิธีเปิดวันที่ 8 สิงหาคม 2550 ได้รับความอนุเคราะห์ภาพจากคุณสุรพล สมาคมถ่ายภาพแห่งประเทศไทย
ภาพการแข่งขัน ภาพจาก FISU
ข่าวพิธีเปิดกีฬามหาวิทยาลัยโลก

Tuesday, August 14, 2007

Press conference at Main Press Center

ภาพจาก official photographer ของ FISU

Universiade Bangkok
ภายในMPC
การแถลงข่าวต่อสื่อมวลชนในศูนย์ผู้สื่อข่าว

Monday, August 13, 2007

กิจกรรมฑูต Universiade Ambassador ที่ Main Press Center

กิจกรรมนักศึกษาฑูต Universiade Ambassadorในศูนย์ผู้สื่อข่าว Main Press Center 8-18 สิงหาคม 2550 ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต
รายละเอียดของกิจกรรมฑูต และ กิจกรรมสร้างกระแส

ฑูตให้การต้อนรับประธาน FISUและคณะ
ฑูตกับอธิการบดีมหาวิทยาลัยศรีปทุม
ทูตกับคณะผู้แทนจากจีน
ฑูตกับคณะผู้บริหารและสื่อมวลชนจากลาว
อาจารย์ฉัตรชัย อักษรศิลป์ ดูแลนักศึกษาฑูตจากมหาวิทยาลัยต่างๆอย่างใกล้ชิด
ฑูตกับไอศครีม

อธิบดีกรมประชาสัมพันธ์เยี่ยมชม MPC
ผู้บริหาร TOT เยี่ยมชม MPC
ผู้บริหารธนาคารกรุงไทย เยี่ยมชม MPC
สังสรรค์ฑูตกีฬาและสื่อมวลชน ที่เรือนปทุม ใกล้มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต



นักศึกษาฑูตกับทีมอาจารย์มหาวิทยาลัยศรีปทุม

ฑูตในกิจกรรม Universiade day

Friday, August 10, 2007

Sport results: Universiade Bangkok ผลการแข่งขัน

รายงานผลการแข่งขันกีฬาทกประเภทดูที่ Sport results
ภาพการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยโลก ณ กรุงเทพมหานครPhoto Gallery: Bangkok Universiade
FISU Photo Gallery 2007

สนามแข่งขันกีฬา

Thursday, August 09, 2007

Universiade

Universiade คืออะไร
Universiade เป็นภาษาอิตาเลียน มาจากคำว่า University + Olympiad หมายถึง กีฬาโอลิมปิกสำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยต่างๆทั่วโลก เริ่มมีมาตั้งแต่ปี ค.ศ.1959 อ่านรายละเอียด
ความเป็นมาเริ่มต้นจากการแข่งขัน World Student Game ครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1923 (พ.ศ. 2466) ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส โดยนาย Jean Petitjean และในปีถัดมาได้จัดตั้งเป็น International Confederation of Student (I.C.S) มีการจัดประชุมขึ้นที่กรุงวอร์ซอ นครหลวงของโปแลนด์ มีผู้เข้าร่วมประชุมจากหลายประเทศ ซึ่งถือว่าเป็นก้าวที่สำคัญอีกก้าวหนึ่งของวงการกีฬายุคนั้น ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ทุกอย่างก็ต้องหยุดชะงักลง แต่เมื่อสงครามสงบทางฝรั่งเศสก็ได้ฟื้น World University Games ขึ้นมาอีกครั้ง แต่ครั้งนั้นมีเพียงกลุ่มมหาวิทยาลัยในกลุ่มประเทศตะวันตกไม่กี่ประเทศเท่านั้นที่เข้าร่วม เนื่องจากภาวะสงครามเย็นนั่นเอง ในปี ค.ศ. 1949 (พ.ศ. 2492) เป็นปีกำเนิดของ FISU หรือสหพันธ์กีฬามหาวิทยาลัยโลก และถัดมาในปี ค.ศ. 1975 (พ.ศ.2500) ได้มีการแข่งขัน World University Sports Championship ขึ้น นับเป็นอีกก้าวที่มีความสำคัญยิ่ง เพราะมีมหาวิทยาลัยในกลุ่มโลกตะวันตกและตะวันออกรวมแข่งขันกันอย่างเสมอภาค ในปี ค.ศ. 1959 (พ.ศ.2502) ได้มีการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยโลกภายใต้ชื่อ Universiade ขึ้นเป็นครั้งแรกที่เมือง Turin ประเทศอิตาลี และนับจากนั้น การแข่งขันกีฬาถูกจัดขึ้น อย่างต่อเนื่องทุกๆ 2 ปี
Start of the Olympiad
The word “Universiade” comes from “university” and “Olympiad”, and means Olympic Games for students. The Universiade is an international sporting and cultural festival which is staged every two years in a different city and which is second in importance only to the Olympic Games
The Summer Universiade consists of 10 compulsory sports and optional sports chosen by the host country.
The ten compulsory sports are Athletics Basketball Fencing Football Gymnastics Swimming Diving Water Polo Tennis Volleyball
Universiade Bangkok 2007
ใคร ทำอะไร ในการจัดการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยโลก ฤดูร้อน ครั้งที่ 24 พศ 2550ผู้อำนวยการสำนักงานจัดการแข่งขันฯ(ดร สุเมธ แย้มนุ่น สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา)
คณะกรรมการฝ่ายจัดเตรียมนักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขัน (ประธานฝ่าย :อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล)
คณะกรรมการฝ่ายเทคนิคกีฬา ( เลขาธิการคณะกรรมการโอลิมปิคแห่งประเทศไทย)
คณะกรรมการฝ่ายสถานที่แข่งขัน ที่พักและอาหาร (มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
คณะกรรมการฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา และ มหาวิทยาลัยมหิดล)
คณะกรรมการฝ่ายการเงินและงบประมาณ (สำนักงบประมาณ)
คณะกรรมการฝ่ายสิทธิประโยชน์ภาครัฐวิสาหกิจ (กระทรวงการคลัง)
คณะกรรมการฝ่ายต้อนรับและพิธีการ( มหาวิทยาลัยกรุงเทพ)
คณะกรรมการฝ่ายประชาสัมพันธ์ (มหาวิทยาลัยศรีปทุม)
คณะกรรมการฝ่ายระบบขนส่ง( มหาวิทยาลัยรามคำแหง)
คณะกรรมการฝ่ายแพทย์และอนามัย (มหาวิทยาลัยมหิดล)
คณะกรรมการฝ่ายพิธีเปิด ปิด พิธีการและการแสดง (มหาวิทยาลัยรังสิต)
คณะกรรมการฝ่ายรักษาความปลอดภัยและจราจร (สำนักงานตำรวจแห่งชาติ)
คณะกรรมการฝ่ายจัดการประชุมวิชาการ (ประธานที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย)
คณะกรรมการฝ่ายอาสาสมัคร (สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
คณะอนุกรรมการจัดทำทะเบียนและบัตรประจำตัว ( มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)
คณะอนุกรรมการศิลปกรรม การออกแบบและตกแต่งเมือง (มหาวิทยาลัยศิลปากร)
คณะอนุกรรมการพิธีการมอบเหรียญรางวัล (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
คณะอนุกรรมการการวิ่งคบเพลิง (มหาวิทยาลัยราชภัฎ)
ข้อมูลจาก FISU
History
FISU emblem

ภาพพิธีเปิดกีฬามหาวิทยาลัยโลก ขอขอบคุณภาพจากคุณสุรพล สมาคมถ่ายภาพแห่งประเทศไทย

Wednesday, August 08, 2007

The opening ceremony of the Universiade Bangkok 2007


พิธีเปิดกีฬามหาวิทยาลัยโลก ณ สนามราชมังคลากีฬาสถาน
158 ประเทศเข้าร่วมแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยโลก ณ กรุงเทพมหานคร
ขบวนพิธีเชิญไฟพระฤกษ์เข้าสู่พิธีเปิดการแข่งขัน
Universiade comes to Bangkok
24th Universiade opens in Bangkok
Elephant attends 24th Universiade opening ceremony
ทัพนักกีฬาไทยข้อมูลพิธีเปิด-ปิด
มหกรรมกีฬามหาวิทยาลัยโลกเปิดฉาก
เปิดฉากกีฬาม.โลกไทยรัฐ คมชัดลึก
กิจกรรมกีฬามหาวิทยาลัยโลก และกิจกรรมสร้างกระแสการมีส่วนร่วมของนักศึกษา
บัตรกีฬามหาวิทยาลัยโลก ซื้อได้ที่ไปรษณีย์ แสตมป์กีฬามหาวิทยาลัยโลก



158 Countries in the Universiade Bangkok 2007 August 8, 2007 in Bangkok, Thailand




Monday, August 06, 2007

ตลาดน้ำของไทย (Floating market)



ตลาดน้ำและตลาดสดเป็นวิถีชีวิตของคนไทย ปัจจุบันมีตลาดน้ำหลายแห่งในเมืองไทย เช่น
ตลาดน้ำดำเนินสะดวก ราชบุรี ตลาดน้ำแห่งแรก
ตลาดน้ำอัมพวา หรือตลาดน้ำยามเย็น
ตลาดน้ำวัดลำพญา ตำบลลำพญา อำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม
ตลาดน้ำตลิ่งชัน
ตลาดน้ำบางน้ำผึ้ง
ตลาดน้ำบางคูเวียง
ตลาดน้ำวัดไทร
ตลาดน้ำบางพลี
ตลาดน้ำท่าคา
ตลาดน้ำ เป็นเสน่ห์ของชุมชนไทย ที่มีเอกลักษณ์ ควรแก่การส่งเสริมและสร้างสรรค์

Friday, August 03, 2007

สะพานของไทย

ภาพสะพานพระราม 9
ประวัติสะพาน
Bridge in Thailand
สะพานสมัยรัชกาลที่ 5
สะพานพระพุทธยอดฟ้า หรือชื่ออย่างเป็นทางการ สะพานปฐมบรมราชานุสรณ์ (Memorial Bridge) เป็นสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาที่เชื่อมการคมนาคมติดต่อระหว่างฝั่งพระนครกับฝั่งธนบุรีของกรุงเทพมหานคร ที่ปลายถนนตรีเพชร เขตพระนคร กับปลายถนนประชาธิปก แขวงวัดกัลยาณ์ เขตธนบุรี
กรณีศึกษา: สะพานข้ามแม่น้ำมิสซิสซิปปี้

Wednesday, August 01, 2007

การอ่าน : วาระแห่งชาติ

มาอ่าน ร่างรัฐธรรมนูญ 2550 กันเถอะ ก่อนแสดงความคิดเห็น
แล้วอย่าลืมไปลงประชามติ 19 สิงหาคม 2550 เพื่อชาติ
การอ่าน เป็นการเติมอาหารสมอง เสริมสร้างจินตนาการ และรับรู้แนวคิดของผู้อื่น การอ่าน การฟัง การเห็นเป็นจุดเสริมสร้างความคิด
การอ่านควรเป็นวาระแห่งชาติ?
คนไทยอ่านหนังสือมากน้อยแค่ไหน
แหล่งข้อมูลเพื่อการฝึกอ่านและฟังภาษาอังกฤษด้วยตนเองน่าสนใจมาก มีแบบทดสอบด้วยตนเอง และเกมส์ทดสอบคำศัพท์อย่างง่ายๆ