กกต.สรุปประชาชนใช้สิทธิเลือก ส.ว. ร้อยละ 55.9
ผลคะแนนเลือกตั้งส.ว.ทั่วประเทศอย่างไม่เป็นทางการ - ครบ100%
ภาคเหนือ 16 จังหวัด ประกอบด้วย
จ.กำแพงเพชร -นายกฤช อาทิตย์แก้ว ได้ 195,895 คะแนน
จ.เชียงราย -นางจิราวรรณ วัฒนศิริธร ได้ 214,384 คะแนน
จ.เชียงใหม่ -นายชูชัย เลิศพงศ์อดิศร ได้ 171,403 คะแนน
จ.ตาก -นายชรินทร์ หาญสืบสาย ได้ 61,168 คะแนน
จ.นครสวรรค์ -นางอรพินท์ มั่นศิลป์ ได้ 196,337 คะแนน
จ.น่าน -นายโศภณ ศรีมาเหล็ก ได้ 54,417 คะแนน
จ.พะเยา -พล.ท.พงศ์เอก อภิรักษ์โยธิน ได้ 93364 คะแนน
จ.พิจิตร -นายบรรชา พงศ์อายุกูล ได้ 125650 คะแนน
จ.พิษณุโลก -น.ส.พิกุลแก้ว ไกรฤกษ์ ได้ 198106 คะแนน
จ.เพชรบูรณ์ -นางสมพร จูมั่น ได้ 186,215 คะแนน
จ.แพร่ -นายขวัญชัย พนมขวัญ ได้ 180,650 คะแนน
จ.แม่ฮ่องสอน -นายบุญส่ง โควาวิสารัช ได้ 40,187 คะแนน
จ.ลำปาง -นายพีระ มานะทัศน์ ได้ 214,453 คะแนน
จ.ลำพูน -นายสมศักดิ์ บุญเปลื้อง ได้ 85,548 คะแนน
จ.สุโขทัย -นางสุอำภา คชไกร ได้ 96,585 คะแนน
จ.อุตรดิตถ์ -นางนฤมล ศิริวัฒน์ ได้ 146,664 คะแนน
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 19 จังหวัด ประกอบด้วย
จ.กาฬสินธุ์ -นายสิทธิศักดิ์ ยนต์ตระกูล ได้ 144,629 คะแนน
จ.ขอนแก่น -นายประเสริฐ ประคุณศึกษาพันธ์ ได้ 356,718 คะแนน
จ.ชัยภูมิ -นางพรทิพย์ จันทร์รัตนปรีดา ได้ 256,021 คะแนน
จ.นครพนม -นายวิทยา อินาลา ได้ 452,974 คะแนน
จ.นครราชสีมา -นายสุเมธ ศรีพงษ์ ได้ 452,974 คะแนน
จ.บุรีรัมย์ -นายทวีศักดิ์ คิดบรรจง ได้ 245,548 คะแนน
จ.มหาสารคาม -นายประวัติ ทองสมบูรณ์ ได้ 144,152 คะแนน
จ.มุกดาหาร -นายจิตต์ มุกดาธนพงษ์ ได้ 44,806 คะแนน
จ.ยโสธร -นายยุทธนา ยุพฤทธิ์ ได้ 87,040 คะแนน
จ.ร้อยเอ็ด -นายจตุรงค์ ธีระกนก ได้ 234,351 คะแนน
จ.เลย -พล.ต.ต.องอาจ สุวรรณสิงห์ ได้ 116,366 คะแนน
จ.ศรีสะเกษ -นายจิตติพจน์ วิริยะโรจน์ ได้ 281,438 คะแนน
จ.สกลนคร -นายประดิษฐ์ ตันวัฒนะพงษ์ ได้ 117,940 คะแนน
จ.สุรินทร์ -นายอนันต์ อริยะชัยพาณิชย์ ได้ 291,193 คะแนน
จ.หนองคาย -พล.ต.ต.ขจร สัยวัตร์ ได้ 126,402 คะแนน
จ.หนองบัวลำภู -นายรักพงษ์ อุบล ได้ 86,653 คะแนน
จ.อำนาจเจริญ -นายบวรศักดิ์ คณาเสน ได้ 60,713 คะแนน
จ.อุบลราชธานี -นายถนอม ส่งเสริม ได้ 117,299 คะแนน
จ.อุดรธานี -พล.ต.ท.พิชัย สุนทรสัจบูลย์ ได้ 266,878 คะแนน
ภาคกลาง 23 จังหวัด ประกอบด้วย
จ.กรุงเทพฯ -น.ส.รสนา โตสิตระกูล ได้ 743,397 คะแนน
จ.กาญจนบุรี -นายสุรพงษ์ ตันธนศรีกุล ได้ 190,767 คะแนน
จ.ฉะเชิงเทรา -นายนิคม ไวยรัชพานิช ได้ 92,172 คะแนน
จ.ชัยนาท -นางจิตร์ธนา ยิ่งทวีลาภา ได้ 38,833 คะแนน
จ.นครนายก -นายธวัชชัย บุญมา ได้ 63,408 คะแนน
จ.นครปฐม -นายสมชาติ พรรณพัฒน์ ได้ 142,026 คะแนน
จ.นนทบุรี -นายดิเรก ถึงฝั่ง ได้ 195,830 คะแนน
จ.ปทุมธานี -นายไพบูลย์ ซำศิริพงษ์ ได้ 134,243 คะแนน
จ.ประจวบคีรีขันธ์ -นายธันว์ ออสุวรรณ ได้ 93,414 คะแนน
จ.ปราจีนบุรี -นายสุรเดช จิรัฐิติเจริญ ได้ 118,680 คะแนน
จ.พระนครศรีอยุธยา-น.ส.เกศสิณี แขวัฒนะ ได้ 106,881 คะแนน
จ.เพชรบุรี -น.ส.สุมล สุตะวิริยะวัฒน์ ได้ 49,048 คะแนน
จ.ราชบุรี -นายเกชา ศักดิ์สมบูรณ์ ได้ 167,444 คะแนน
จ.ลพบุรี -นายวรวิทย์ วงษ์สุวรรณ์ ได้ 170,414 คะแนน
จ.สมุทรปราการ -นายสุโข วุฑฒิโชติ ได้ 78,940 คะแนน
จ.สมุทรสาคร -นายสุวิศว์ เมฆเสรีกุล ได้ 68,514 คะแนน
จ.สมุทรสงคราม -นายสุรจิต ชิรเวทย์ ได้ 57,406 คะแนน
จ.สระแก้ว -นายพายัพ ทองชื่น ได้ 97,303 คะแนน
จ.สระบุรี -นายจรัล จึงยิ่งเรืองรุ่ง ได้ 98,957 คะแนน
จ.สิงห์บุรี -นายศุภวัฒน์ เทียนถาวร ได้ 48,360 คะแนน
จ.สุพรรณบุรี -นายประสิทธิ์ โพธสุธน ได้ 180,354 คะแนน
จ.อ่างทอง -พล.ต.อ.โกวิท ภักดีภูมิ ได้ 47,628 คะแนน
จ.อุทัยธานี -นายสิงห์ชัย ทุ่งทอง ได้ 61,240 คะแนน
ภาคตะวันออก 4 จังหวัด ประกอบด้วย
จ.จันทบุรี -นายมงคล ศรีคำแหง ได้ 120,352 คะแนน
จ.ชลบุรี -นายสุรชัย ชัยตระกูลทอง ได้ 168,124 คะแนน
จ.ตราด -นายสุพจน์ เลียดประถม ได้ 44,100 คะแนน
จ.ระยอง -นายสาย กังกเวคิน ได้ 81,705 คะแนน
ภาคใต้ 14 จังหวัด ประกอบด้วย
จ.กระบี่ -นายภิญโญ สายนุ้ย ได้ 60,030 คะแนน
จ.ชุมพร -พล.ต.กลชัย สุวรรณบูรณ์ ได้ 122,964 คะแนน
จ.ตรัง -นายวิเชียร คันฉ่อง ได้ 133,663 คะแนน
จ.นครศรีธรรมราช -นายสิริวัฒน์ ไกรสินธุ์ ได้ 331,050 คะแนน
จ.นราธิวาส -นายมูหามะรอสดี บอตอ ได้ 118,530 คะแนน
จ.ปัตตานี -นายวรวิทย์ บารู ได้ 101,587 คะแนน
จ.พังงา -นายมานพน้อย วานิช ได้ 82,926 คะแนน
จ.พัทลุง -นายเจริญ ภักดีวานิช ได้ 122,329 คะแนน
จ.ภูเก็ต -นางธันยรัศม์ อัจฉริยะฉาย ได้ 39,375 คะแนน
จ.ยะลา -นายต่วนอับดุลเล๊าะ ดาโอ๊ะมารียอ ได้ 58,369 คะแนน
จ.ระนอง -นายพรพจน์ กังวาล ได้ 19,797 คะแนน
จ.สงขลา -นายประเสริฐ ชิตพงศ์ ได้ 234,180 คะแนน
จ.สตูล -นายสุริยา ปันจอร์ ได้ 84,300 คะแนน
จ.สุราษฎร์ธานี -พล.ต.ท.มาโนช ไกรวงศ์ ได้ 168,167
เชิญชวนคนกรุงเทพไปเลือกตัวแทนของท่านไปทำหน้าที่ในสภา ออกไปใช้สิทธิ์กันนะ
เลือกใครดีเป็น สว.กทม. เบอร์ 1 - 35
รายชื่อผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา ประจำจังหวัดกรุงเทพมหานคร
ผู้สมัครทั้งหมด 35 คน ประกอบด้วย
1.นายประทีป พิทยวรพงศ์ อาชีพอิสระ
2.ร้อยเอกพรชัย รัศมีแพทย์ นักกฎหมาย
3.นายธนช รัตนศาสตร์สุข ธุรกิจส่วนตัว
4.นายสมควร บรูมินเหนทร์ อาชีพอิสระ
5.นางสาวรสนา โตสิตระกูล อาชีพอิสระ
6.นายอนุสรณ์ ธรรมใจ นักวิชาการ
7.นายชยงค์ นามเมือง อายุ 68 ปี ข้าราชการบำนาญและนักวิชาการเกษตร
8. นายธันยพงศ์ วงศ์แก่นสาร อายุ 54 ปี ข้าราชการบำนาญและนักธุรกิจ
9. นายวินิต ช่อวิเชียร อายุ 61 ปี ข้าราชการบำนาญ
10. นายพิชิต โอบอ้อม อายุ 65 ปี ข้าราชการบำนาญ
11. นายยงชัย งามอุษาวรรณ อายุ 59 ปี อาชีพธุรกิจส่วนตัว และอดีตที่ปรึกษาประธานสภาฯ
12. พ.ต.ท.นิตินัย จันทรวิจิตร อายุ 52 ปี ข้าราชการบำนาญ
13.นางปรางค์ทิพย์ พินิจารมณ์ อายุ 39 ปี อาชีพ ธุรกิจส่วนตัว
14. นายศักดา มหานันทโพธิ์ อายุ 60 ปี อาชีพทนายความอาวุโส บมจ.ธนาคารกรุงเทพ
15.นายมานิต วิทยาเต็ม อายุ 66 ปี คณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทยและอดีตตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ
16.นายสุวิทย์ ยศวงค์ใจ อายุ 41 ปี อาชีพกรรมการผู้จัดการบริษัท ส.พันแสง เอ็นจิเนียริ่งเนียริ่ง
17 นายเจตน์ ทองคำ อายุ 52 ปี อาชีพทนายความ
18.นายสุริยัน สมประสิทธิ์ ทนายความ
19.นายศักดา ศรีวิริยะไพบูลย์ นักธุรกิจ
20.นายสรวิศ เกียรติศรีสิริ ทนายความ
21.นางสาวศิริพรรณ เลาหวัฒนภิญโญ อายุ 52 ปี อาชีพทนายความ
22.นางชุตินธร วัชรขจร อายุ 54 ปี นักธุรกิจ
23 นายวิรัช เพ็งจุ้ย อายุ 53 ปี ธุรกิจส่วนตัว
24นายสรสินธุ ไตรจักรภพ อายุ 61 ปี อาชีพนักธุรกิจ
25 นางเจตนิพิฐ ลิ่มประเสริฐ อายุ 52 ปี อาชีพนักธุรกิจ
26เรือตรีสรศักดิ์ ฮวบดี อายุ 57 ปี อาชีพทนายความ
27.นายภาคภูมิ ปิตยานนท์ อายุ 52 ปี อาชีพทนายความ
28.นายสาชล โล้วิชากรติกุล อายุ 65 ปี อาชีพนักธุรกิจ
29.นายนิติพงษ์ ห่อนาค นักแต่งเพลงชื่อดัง อายุ 47 ปี
30.นายธนชาติ เพิ่มลาภตระกูล อายุ 51 ปี อาชีพธุรกิจส่วนตัว
31. นายชิงชัย รอดชนะ อายุ 59 ปี อาชีพทนายความ
32. ร.ต.ต.จักรี เศวตรัตน์ อายุ 61 ปี ข้าราชการบำนาญ
33.นายวิบูลย์ศักดิ์ หนันดี อายุ 62 ปี อาชีพข้าราชการบำนาญ
34. นายสุวิชัย ธรรมศรีสกุล อายุ 42 ปี อาจารย์มหาวิทยาลัยราชมงคลราชบุรี
และ 35. นายอนันต์ ภู่สถาพร อายุ 56 ปี ข้าราชการบำนาญ
รายชื่อผู้สมัครรับเลือกตั้ง ส.ว. ทั้ง 76 จังหวัด
ภาพถ่าย - รายชื่อผู้สมัครรับเลือกตั้ง ส.ว. ครบทั้ง 76 จังหวัด (ก่อนไปเลือกตั้ง อาทิตย์ 2 มี.ค.)
ทำไมต้องเลือก สว.ภาคประชาชน ?
ตามที่รัฐธรรมนูญปี ๒๕๕๐ บัญญัติให้ “วุฒิสภา” ประกอบด้วยสมาชิกจำนวนรวมหนึ่งร้อยห้าสิบคน ซึ่งมาจากการเลือกตั้งในแต่ละจังหวัด จังหวัดละหนึ่งคน และมาจากการสรรหาเท่ากับจำนวนรวมข้างต้นหักด้วยจำนวนสมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการเลือกตั้ง โดยกำหนดให้ สว. มีหน้าที่ดังนี้*
(๑) กลั่นกรองกฎหมาย
(๒) ควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน โดยการเป็นกรรมาธิการด้านต่างๆ การตั้งกระทู้ถาม การอภิปรายทั่วไปเพื่อให้คณะรัฐมนตรีแถลงชี้แจงข้อเท็จจริง โดยไม่มีการลงมติ
(๓) เลือก แต่งตั้ง ให้คำแนะนำ หรือ ให้ความเห็นชอบ และถอดถอนบุคคลในองค์กร ตามรัฐธรรมนูญ ได้แก่ คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ตุลาการศาลปกครองสูงสุด คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน เป็นต้น
(๔) พิจารณา และมีมติให้ถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง และข้าราชการระดับสูง ออกจากตำแหน่ง ถ้ามีพฤติการณ์ร่ำรวยผิดปกติ ส่อไปในทางทุจริตต่อหน้าที่ ส่อว่ากระทำผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ ส่อว่ากระทำผิดหน้าที่ในการยุติธรรม หรือ ส่อว่าจงใจใช้อำนาจหน้าที่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ