Tuesday, January 27, 2009
Friday, January 16, 2009
สุนทรพจน์ประธานาธิบดีสหรัฐ
แผนงานของประธานาธิบดีสหรัฐหลังพ้นตำแหน่ง คือ สร้างห้องสมุด และเขียนหนังสือ
Bush's new to-do list: build library, write memoirs
He plans to open a presidential library and a policy center at Southern Methodist University in Dallas and write his take on the major events that shaped his presidency -- the wars in Iraq and Afghanistan and the Sept. 11, 2001 attacks on the United States.
The planned $300 million Bush Presidential Center at Southern Methodist University, to be designed by Robert A.M. Stern, dean of the Yale University School of Architecture, will be a draw for any historian researching the Bush presidency.
The library itself will be operated by the National Archives, but the library's planned policy center, called the Freedom Institute, has drawn some criticism as a potential mouthpiece for Bush's conservative agenda.(Source)
อ่านรายละเอียด The Bush retirement plan: build library, enjoy perks
สุนทรพจน์ประธานาธิบดี George Bush
George W Bush's final speech: Full transcript
....
In citizens like these, we see the best of our country - resilient and hopeful, caring and strong. These virtues give me an unshakable faith in America. We have faced danger and trial, and there is more ahead. But with the courage of our people and confidence in our ideals, this great nation will never tire … never falter … and never fail.
It has been the privilege of a lifetime to serve as your president. There have been good days and tough days. But every day I have been inspired by the greatness of our country and uplifted by the goodness of our people. I have been blessed to represent this nation we love. And I will always be honored to carry a title that means more to me than any other: citizen of the United States of America.
And so, my fellow Americans, for the final time: Good night. May God bless this house and our next president. And may God bless you and our wonderful country
Source
Bush's new to-do list: build library, write memoirs
He plans to open a presidential library and a policy center at Southern Methodist University in Dallas and write his take on the major events that shaped his presidency -- the wars in Iraq and Afghanistan and the Sept. 11, 2001 attacks on the United States.
The planned $300 million Bush Presidential Center at Southern Methodist University, to be designed by Robert A.M. Stern, dean of the Yale University School of Architecture, will be a draw for any historian researching the Bush presidency.
The library itself will be operated by the National Archives, but the library's planned policy center, called the Freedom Institute, has drawn some criticism as a potential mouthpiece for Bush's conservative agenda.(Source)
อ่านรายละเอียด The Bush retirement plan: build library, enjoy perks
สุนทรพจน์ประธานาธิบดี George Bush
George W Bush's final speech: Full transcript
....
In citizens like these, we see the best of our country - resilient and hopeful, caring and strong. These virtues give me an unshakable faith in America. We have faced danger and trial, and there is more ahead. But with the courage of our people and confidence in our ideals, this great nation will never tire … never falter … and never fail.
It has been the privilege of a lifetime to serve as your president. There have been good days and tough days. But every day I have been inspired by the greatness of our country and uplifted by the goodness of our people. I have been blessed to represent this nation we love. And I will always be honored to carry a title that means more to me than any other: citizen of the United States of America.
And so, my fellow Americans, for the final time: Good night. May God bless this house and our next president. And may God bless you and our wonderful country
Source
Thursday, January 15, 2009
จัดอันดับสนามบินที่ดีที่สุดและแย่ที่สุด
สนามบิน 4 แห่งในเอเชีย "ฮ่องกง-สิงคโปร์-มาเลเซีย-เกาหลีใต้" คว้าสนามบินดีที่สุดในโลก ส่วน"สุวรรณภูมิ"อยู่ในระดับปานกลาง 3 ดาว ขณะที่สนามบินสหรัฐและยุโรป ครองตำแหน่งแย่สุดในโลก ชาร์ลส์ เดอ โกล ของฝรั่งเศสขึ้นชื่อพนักงานหยาบคาย-แผนผังมั่ว-อาหารแพง
ซีเอ็นเอ็นรายงานว่า ในการจัดอันดับสนามบินที่ดีและแย่ที่สุดในโลกประจำปี 2008 จัดโดยสกายแทร็กซ์ บริษัทให้คำปรึกษาการวิจัยชั้นนำสำหรับอุตสาหกรรมการบินและสนามบิน พบว่าสายการบินที่ดีที่สุดในโลก ได้แก่ สนามบินนานาชาติฮ่องกง, สนามบินชางงีของสิงคโปร์, สนามบินอินชอนของเกาหลีใต้, สนามบินกัวลาลัมเปอร์ของมาเลเซีย และสนามบินมิวนิกของเยอรมนี โดยสนามบินฮ่องกงติดอันดับดีที่สุดติดต่อกัน 10 ปีแล้ว เนื่องจากมีความโดดเด่นตรงที่การตกแต่งสนามบินใช้ศิลปะน้อยชิ้นแต่มีคุณค่า, การออกแบบทันสมัย, มีศูนย์ช็อปปิ้งที่หรูหราและมีบริการอินเตอร์เน็ตไร้สาย ขณะที่สนามบินชางงี มีความโดดเด่นตรงที่ทำให้ผู้โดยสารรู้สึกผ่อนคลายด้วยสระน้ำบนหลังคา, สวนกล้วยไม้และต้นปาล์มสูง รายงานข่าวเปิดเผยว่า สนามบินอินชอนของเกาหลีใต้มีความโดดเด่นเรื่องอุปกรณ์เพื่อความปลอดภัยที่ดีเยี่ยม, กระบวนการขาออกของผู้โดยสารกินเวลาไม่เกิน 45 นาที ส่วนสนามบินกัวลาลัมเปอร์ที่ออกแบบโดยชาวญี่ปุ่น มีความโดดเด่นเรื่องการออกแบบที่มีการผสมผสานเทคโนโลยีอนาคตเข้ากับวัฒนธรรมมาเลเซียและทรัพยากรธรรมชาติท่ามกลางป่าเขตร้อนบริเวณกลางอาคารผู้โดยสาร
รายงานข่าวเปิดเผยว่า สำหรับสนามบินที่แย่ที่สุด ประกอบด้วย สนามบินอิรักเพราะเป็นเขตสงคราม, สนามบินอินทิรา คานธีของอินเดีย, สนามบินลุคลาของเนปาลเพราะหวาดเสียวทั้งขึ้นและลง โดยเฉพาะตอนขึ้นนั้นต้องเชิดหัวขึ้นอย่างกะทันหันเพราะสุดทางวิ่งของเครื่องบินคือขอบเหว, สนามบินลีโอโพล เซดาร์ เซงงอร์ ของเซเนกัล, สนามบินลอสแองเจลิสของสหรัฐอเมริกา, สนามบินลอนดอนฮีทโธรว์ของอังกฤษ และสนามบินชาร์ลส์ เดอ โกล กรุงปารีสของฝรั่งเศส โดยสนามบินชาร์ลส์ เดอโกลนั้น ขึ้นชื่อว่าพนักงานมีความหยาบคาย, การวางแผนผังของอาคารและสนามบินมีความสับสนและราคาอาหารแพงเกินเหตุ
รายงานข่าวเปิดเผยว่า สำหรับสนามบินสุวรรณภูมิของไทยนั้น ถูกจัดอันดับให้อยู่ในระดับปานกลาง ได้รับคะแนนเฉลี่ย 3 ดาว ซึ่งหมายความว่าบริการและผลิตภัณฑ์ได้มาตรฐานตามค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรมการบิน แต่ยังมีบางจุดที่ถือว่ายังบกพร่องอ่อนแอหรือบางครั้งต่ำกว่ามาตรฐาน โดยจุดที่อ่อนแอของสนามบินสุวรรณภูมิมีถึง 10 จุด ได้แก่ 1.เว็บไซต์บริการข้อมูลข่าวสาร 2.ระบบการต่อเครื่องบินของผู้โดยสาร 3.เวลาและระยะทางในการเดินทางไปถึงประตูขึ้นเครื่องบิน 4.ป้ายบอกทิศทางรอบสนามบิน 5.ระยะทางที่ผู้โดยสารต้องเดินทั้งตอนขาเข้าและการต่อเครื่องบิน 6.ระยะเวลาในการรอรับกระเป๋า 7.เครื่องเอทีเอ็มสำหรับกดเงินสด 8.ศูนย์ธุรกิจหรือบริเวณทำงาน 9.สิ่งอำนวยเพื่อการพักผ่อนหย่อนใจ โดยทั้ง 9 จุดนี้ได้รับคะแนนเพียง 2 ดาว ซึ่งหมายถึงแย่ ส่วนจุดที่แย่ที่สุดของสนามบินสุวรรณภูมิ โดยได้รับคะแนนเพียง 1 ดาว คือ สถานที่นัดพบสำหรับผู้โดยสารและผู้มารอรับ-ส่ง
รายงานข่าวเปิดเผยว่า จุดที่สุวรรณภูมิได้รับคะแนนสูง 4 ดาว ประกอบด้วย 1.ความเป็นมิตรของพนักงานตรวจคนเข้าเมือง 2.กระบวนการตรวจคนเข้าเมือง 3.จำนวนเก้าอี้นั่ง 4.ระบบการสแกนกระเป๋าเพื่อตรวจหาอาวุธ 5.จำนวนแท็กซี่บริการ 6.ความสะอาดของอาคาร 7.วิวการมองเห็นเครื่องบินและรันเวย์ 8.แสงธรรมชาติภายในอาคาร 9.สิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับคนพิการและสถานที่เปลี่ยนผ้าอ้อมเด็ก 10.คุณภาพการบริการของพนักงานตามร้านค้าภายในสนามบิน 11.ความหลากหลายของร้านอาหารและภัตตาคาร 12.ราคาอาหารและเครื่องดื่ม 13.การให้บริการของพนักงานในร้านอาหารและภัตตาคาร 14.สถานที่เล่นสำหรับเด็ก
แหล่งข้อมูล
ซีเอ็นเอ็นรายงานว่า ในการจัดอันดับสนามบินที่ดีและแย่ที่สุดในโลกประจำปี 2008 จัดโดยสกายแทร็กซ์ บริษัทให้คำปรึกษาการวิจัยชั้นนำสำหรับอุตสาหกรรมการบินและสนามบิน พบว่าสายการบินที่ดีที่สุดในโลก ได้แก่ สนามบินนานาชาติฮ่องกง, สนามบินชางงีของสิงคโปร์, สนามบินอินชอนของเกาหลีใต้, สนามบินกัวลาลัมเปอร์ของมาเลเซีย และสนามบินมิวนิกของเยอรมนี โดยสนามบินฮ่องกงติดอันดับดีที่สุดติดต่อกัน 10 ปีแล้ว เนื่องจากมีความโดดเด่นตรงที่การตกแต่งสนามบินใช้ศิลปะน้อยชิ้นแต่มีคุณค่า, การออกแบบทันสมัย, มีศูนย์ช็อปปิ้งที่หรูหราและมีบริการอินเตอร์เน็ตไร้สาย ขณะที่สนามบินชางงี มีความโดดเด่นตรงที่ทำให้ผู้โดยสารรู้สึกผ่อนคลายด้วยสระน้ำบนหลังคา, สวนกล้วยไม้และต้นปาล์มสูง รายงานข่าวเปิดเผยว่า สนามบินอินชอนของเกาหลีใต้มีความโดดเด่นเรื่องอุปกรณ์เพื่อความปลอดภัยที่ดีเยี่ยม, กระบวนการขาออกของผู้โดยสารกินเวลาไม่เกิน 45 นาที ส่วนสนามบินกัวลาลัมเปอร์ที่ออกแบบโดยชาวญี่ปุ่น มีความโดดเด่นเรื่องการออกแบบที่มีการผสมผสานเทคโนโลยีอนาคตเข้ากับวัฒนธรรมมาเลเซียและทรัพยากรธรรมชาติท่ามกลางป่าเขตร้อนบริเวณกลางอาคารผู้โดยสาร
รายงานข่าวเปิดเผยว่า สำหรับสนามบินที่แย่ที่สุด ประกอบด้วย สนามบินอิรักเพราะเป็นเขตสงคราม, สนามบินอินทิรา คานธีของอินเดีย, สนามบินลุคลาของเนปาลเพราะหวาดเสียวทั้งขึ้นและลง โดยเฉพาะตอนขึ้นนั้นต้องเชิดหัวขึ้นอย่างกะทันหันเพราะสุดทางวิ่งของเครื่องบินคือขอบเหว, สนามบินลีโอโพล เซดาร์ เซงงอร์ ของเซเนกัล, สนามบินลอสแองเจลิสของสหรัฐอเมริกา, สนามบินลอนดอนฮีทโธรว์ของอังกฤษ และสนามบินชาร์ลส์ เดอ โกล กรุงปารีสของฝรั่งเศส โดยสนามบินชาร์ลส์ เดอโกลนั้น ขึ้นชื่อว่าพนักงานมีความหยาบคาย, การวางแผนผังของอาคารและสนามบินมีความสับสนและราคาอาหารแพงเกินเหตุ
รายงานข่าวเปิดเผยว่า สำหรับสนามบินสุวรรณภูมิของไทยนั้น ถูกจัดอันดับให้อยู่ในระดับปานกลาง ได้รับคะแนนเฉลี่ย 3 ดาว ซึ่งหมายความว่าบริการและผลิตภัณฑ์ได้มาตรฐานตามค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรมการบิน แต่ยังมีบางจุดที่ถือว่ายังบกพร่องอ่อนแอหรือบางครั้งต่ำกว่ามาตรฐาน โดยจุดที่อ่อนแอของสนามบินสุวรรณภูมิมีถึง 10 จุด ได้แก่ 1.เว็บไซต์บริการข้อมูลข่าวสาร 2.ระบบการต่อเครื่องบินของผู้โดยสาร 3.เวลาและระยะทางในการเดินทางไปถึงประตูขึ้นเครื่องบิน 4.ป้ายบอกทิศทางรอบสนามบิน 5.ระยะทางที่ผู้โดยสารต้องเดินทั้งตอนขาเข้าและการต่อเครื่องบิน 6.ระยะเวลาในการรอรับกระเป๋า 7.เครื่องเอทีเอ็มสำหรับกดเงินสด 8.ศูนย์ธุรกิจหรือบริเวณทำงาน 9.สิ่งอำนวยเพื่อการพักผ่อนหย่อนใจ โดยทั้ง 9 จุดนี้ได้รับคะแนนเพียง 2 ดาว ซึ่งหมายถึงแย่ ส่วนจุดที่แย่ที่สุดของสนามบินสุวรรณภูมิ โดยได้รับคะแนนเพียง 1 ดาว คือ สถานที่นัดพบสำหรับผู้โดยสารและผู้มารอรับ-ส่ง
รายงานข่าวเปิดเผยว่า จุดที่สุวรรณภูมิได้รับคะแนนสูง 4 ดาว ประกอบด้วย 1.ความเป็นมิตรของพนักงานตรวจคนเข้าเมือง 2.กระบวนการตรวจคนเข้าเมือง 3.จำนวนเก้าอี้นั่ง 4.ระบบการสแกนกระเป๋าเพื่อตรวจหาอาวุธ 5.จำนวนแท็กซี่บริการ 6.ความสะอาดของอาคาร 7.วิวการมองเห็นเครื่องบินและรันเวย์ 8.แสงธรรมชาติภายในอาคาร 9.สิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับคนพิการและสถานที่เปลี่ยนผ้าอ้อมเด็ก 10.คุณภาพการบริการของพนักงานตามร้านค้าภายในสนามบิน 11.ความหลากหลายของร้านอาหารและภัตตาคาร 12.ราคาอาหารและเครื่องดื่ม 13.การให้บริการของพนักงานในร้านอาหารและภัตตาคาร 14.สถานที่เล่นสำหรับเด็ก
แหล่งข้อมูล
Tuesday, January 13, 2009
Monday, January 12, 2009
ผลการนับคะแนนเลือกตั้งผู้ว่าฯกทม.ทั้ง 50 เขต
สำหรับผลการนับคะแนนเลือกตั้งผู้ว่าฯกทม.ทั้ง 50 เขต อย่างไม่เป็นทางการ ปรากฏว่า อันดับ 1 ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร หมายเลข 2 พรรคประชาธิปัตย์ ได้ 934,602 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 45.41 อันดับ 2 นายยุรนันท์ ภมรมนตรี หมายเลข 10 พรรคเพื่อไทย ได้ 611,669 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 29.72 อันดับ 3 ม.ล.ณัฏฐกรณ์ เทวกุล หมายเลข 8 ได้ 334,846 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 16.27 อันดับ 4 นายแก้วสรร อติโพธิ หมายเลข 12 กลุ่มกรุงเทพฯใหม่ ได้ 144,779 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 7.03 อันดับ 5 นางลีนา จังจรรจา หมายเลข 3 ได้ 9,043 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 0.44 อันดับ 6 นายสุเมธ ตันธนาศิริกุล หมายเลข 1 ทีมกรุงเทพฯพัฒนา ได้ 6,017 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 0.29 อันดับ 7 นายเอธัส มนต์เสรีนุสรรณ์ หมายเลข 14 พรรคสุวรรณภูมิ ได้ 4,117 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 0.20
อันดับ 8 นายวิทยา จังกอบพัฒนา หมายเลข 9 ได้ 3,582 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 0.18 อันดับ 9 นายกงจักร ใจดี หมายเลข 5 ได้ 2,400 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 0.12 อันดับ 10 นายธรรณม์ชัย รุ่งจิรโรจน์ หมายเลข 11 ได้ 2,222 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 0.11 อันดับ 11 นางธรณี ฤทธีธรรมรงค์ หมายเลข 4 ได้ 1,875 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 0.09 อันดับ 12 ร.อ.เมตตา เต็มชำนาญ หมายเลข 6 กลุ่มเมตตาธรรม ได้ 1,431 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 0.07 อันดับ 13 นายอิสระ อมรเวช หมายเลข 7 ได้ 922 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 0.04 และอันดับ 14 นายอุดม วิบูลเทพาชาติ ได้ 656 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 0.03
ข่าวแจ้งว่า ใน 50 เขต ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ได้คะแนนเป็นอันดับ 1 ถึง 46 เขต ขณะที่นายยุรนันท์ได้คะแนนอันดับ 1 เพียง 4 เขต ได้แก่ ดอนเมือง ลาดกระบัง สายไหม และดุสิต ซึ่งทั้ง 4 เขต เป็นพื้นที่ที่พรรคเพื่อไทยมีฐานคะแนนเสียงหนาแน่น แหล่งข้อมูล
รายชื่อผู้สมัครผู้ว่า กทม
อันดับ 8 นายวิทยา จังกอบพัฒนา หมายเลข 9 ได้ 3,582 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 0.18 อันดับ 9 นายกงจักร ใจดี หมายเลข 5 ได้ 2,400 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 0.12 อันดับ 10 นายธรรณม์ชัย รุ่งจิรโรจน์ หมายเลข 11 ได้ 2,222 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 0.11 อันดับ 11 นางธรณี ฤทธีธรรมรงค์ หมายเลข 4 ได้ 1,875 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 0.09 อันดับ 12 ร.อ.เมตตา เต็มชำนาญ หมายเลข 6 กลุ่มเมตตาธรรม ได้ 1,431 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 0.07 อันดับ 13 นายอิสระ อมรเวช หมายเลข 7 ได้ 922 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 0.04 และอันดับ 14 นายอุดม วิบูลเทพาชาติ ได้ 656 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 0.03
ข่าวแจ้งว่า ใน 50 เขต ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ได้คะแนนเป็นอันดับ 1 ถึง 46 เขต ขณะที่นายยุรนันท์ได้คะแนนอันดับ 1 เพียง 4 เขต ได้แก่ ดอนเมือง ลาดกระบัง สายไหม และดุสิต ซึ่งทั้ง 4 เขต เป็นพื้นที่ที่พรรคเพื่อไทยมีฐานคะแนนเสียงหนาแน่น แหล่งข้อมูล
รายชื่อผู้สมัครผู้ว่า กทม
ธุรกิจซื้อขายออนไลน์
จากแนวโน้มการเติบโตของตลาดซื้อขายออนไลน์ทำให้เกิดการพัฒนารูปแบบการซื้อขายออนไลน์ระหว่างผู้บริโภคขายให้กับผู้บริโภค (Consumer to Consumer: C2C) ผ่านตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Marketplace)
ธุรกิจซื้อขายออนไลน์กลับมีแนวโน้มเติบโต โดยจากการสำรวจของ NECTEC ในปี 2551 มีจำนวนผู้ที่ซื้อสินค้าและบริการผ่านอินเตอร์เน็ตเป็นสัดส่วนกว่าร้อยละ 45.5 เพิ่มสูงขึ้นจากปี 2550 ที่มีประมาณร้อยละ 28.9 ที่ผ่านมาการสำรวจมูลค่าตลาดซื้อขายออนไลน์มีความแตกต่างกัน โดยขึ้นอยู่กับนิยามในการสำรวจและกลุ่มตัวอย่าง สำหรับศูนย์วิจัยกสิกรไทย ประเมินว่ามูลค่าตลาดซื้อขายออนไลน์ในปี 2551 อาจอยู่ในช่วง 25,000-30,000 ล้านบาท ขยายตัวประมาณร้อยละ 30-40 จากปีก่อน โดยมีปัจจัยสนับสนุนมาจากจำนวนผู้ใช้อินเตอร์เน็ตที่เพิ่มสูงขึ้น รวมทั้งการที่ผู้ใช้อินเตอร์เน็ตหันมาใช้อินเตอร์เน็ตความเร็วสูงมากขึ้น ซึ่งส่งผลดีต่อการสั่งซื้อสินค้าออนไลน์ที่มีความสะดวกรวดเร็วและน่าเชื่อถือมากขึ้น นอกจากนี้ การเติบโตของเว็บไซต์ e-Marketplace ก็ช่วยสนับสนุนการเติบโตของธุรกิจซื้อขายออนไลน์ด้วย
สำหรับปี 2552 ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว่าธุรกิจซื้อขายออนไลน์จะเป็นหนึ่งในไม่กี่ธุรกิจที่จะมีแนวโน้มการเติบโต โดยมีจุดแข็งจากต้นทุนในการดำเนินการที่ต่ำ ทำให้สามารถตั้งราคาขายต่ำกว่าท้องตลาดได้ อีกทั้งผู้ประกอบการสามารถทำการขายผ่านช่องทางออนไลน์และหน้าร้านปกติควบคู่กันไป เป็นการช่วยขยายช่องทางการจัดจำหน่ายให้มากขึ้นด้วย ความรวดเร็วในการปรับเปลี่ยนการสื่อสารทางการตลาดและการแนะนำสินค้าและบริการใหม่ๆ เพื่อให้ทันต่อกระแสและตอบสนองตลาด จำนวนผู้ใช้อินเตอร์เน็ตที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จากราคาค่าบริการที่มีแนวโน้มถูกลงและความเร็วเพิ่มสูงขึ้น อ่านรายละเอียด
ธุรกิจซื้อขายออนไลน์กลับมีแนวโน้มเติบโต โดยจากการสำรวจของ NECTEC ในปี 2551 มีจำนวนผู้ที่ซื้อสินค้าและบริการผ่านอินเตอร์เน็ตเป็นสัดส่วนกว่าร้อยละ 45.5 เพิ่มสูงขึ้นจากปี 2550 ที่มีประมาณร้อยละ 28.9 ที่ผ่านมาการสำรวจมูลค่าตลาดซื้อขายออนไลน์มีความแตกต่างกัน โดยขึ้นอยู่กับนิยามในการสำรวจและกลุ่มตัวอย่าง สำหรับศูนย์วิจัยกสิกรไทย ประเมินว่ามูลค่าตลาดซื้อขายออนไลน์ในปี 2551 อาจอยู่ในช่วง 25,000-30,000 ล้านบาท ขยายตัวประมาณร้อยละ 30-40 จากปีก่อน โดยมีปัจจัยสนับสนุนมาจากจำนวนผู้ใช้อินเตอร์เน็ตที่เพิ่มสูงขึ้น รวมทั้งการที่ผู้ใช้อินเตอร์เน็ตหันมาใช้อินเตอร์เน็ตความเร็วสูงมากขึ้น ซึ่งส่งผลดีต่อการสั่งซื้อสินค้าออนไลน์ที่มีความสะดวกรวดเร็วและน่าเชื่อถือมากขึ้น นอกจากนี้ การเติบโตของเว็บไซต์ e-Marketplace ก็ช่วยสนับสนุนการเติบโตของธุรกิจซื้อขายออนไลน์ด้วย
สำหรับปี 2552 ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว่าธุรกิจซื้อขายออนไลน์จะเป็นหนึ่งในไม่กี่ธุรกิจที่จะมีแนวโน้มการเติบโต โดยมีจุดแข็งจากต้นทุนในการดำเนินการที่ต่ำ ทำให้สามารถตั้งราคาขายต่ำกว่าท้องตลาดได้ อีกทั้งผู้ประกอบการสามารถทำการขายผ่านช่องทางออนไลน์และหน้าร้านปกติควบคู่กันไป เป็นการช่วยขยายช่องทางการจัดจำหน่ายให้มากขึ้นด้วย ความรวดเร็วในการปรับเปลี่ยนการสื่อสารทางการตลาดและการแนะนำสินค้าและบริการใหม่ๆ เพื่อให้ทันต่อกระแสและตอบสนองตลาด จำนวนผู้ใช้อินเตอร์เน็ตที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จากราคาค่าบริการที่มีแนวโน้มถูกลงและความเร็วเพิ่มสูงขึ้น อ่านรายละเอียด
Monday, January 05, 2009
พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นและหอจดหมายเหตุท้องถิ่น
จากที่ วธ.ได้จัดสัมมนาการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นและหอจดหมายเหตุท้องถิ่น เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัด (สวจ.) และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นและหอจดหมายเหตุท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมและอนุรักษ์สมบัติทางวัฒนธรรมให้คงอยู่เป็นมรดกท้องถิ่นและของชาติสืบไป และเพื่อให้การจัดตั้งพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นและหอจดหมายเหตุท้องถิ่นสามารถเดินหน้าและประสบความสำเร็จ ตนจึงได้มอบหมายให้ สวจ.ต่างๆ ดำเนินการ ดังนี้ 1.สำรวจข้อมูลพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นและหอจดหมายเหตุในพื้นที่จังหวัดที่จัดตั้งแล้ว 2.สำรวจข้อมูลพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นและหอจดหมายเหตุท้องถิ่นที่กำลังจะจัดตั้งใหม่ 3.หากสำรวจว่าควรจะมีการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นและหอจดหมายเหตุท้องถิ่นใหม่ ให้ สวจ.นั้นๆ ประสานขอรับการสนับสนุนด้านวิชาการจากผู้เชี่ยวชาญของสำนักพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ และศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร และ 4.ให้ สวจ.จัดเก็บข้อมูลบันทึกเหตุการณ์ที่สำคัญที่สุดรายปีภายในจังหวัด จำนวน 3 เหตุการณ์ พร้อมทั้งรูปถ่ายส่งมายัง วธ.เพื่อรวบรวมและจัดพิมพ์เป็นเล่ม แหล่งข้อมูล
Saturday, January 03, 2009
สมเด็จพระเทพฯทรงแนะบัณฑิต"มศว" พิเคราะห์ข่าวลึกซึ้งกันหลงผิด
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ มีพระราโชวาทความตอนหนึ่งว่า สังคมโลกทุกวันนี้ มีการติดต่อสื่อสารกันอย่างสะดวกง่ายดาย ด้วยวิธีที่หลากหลายขึ้นกว่าแต่ก่อน คนในสังคมจึงรับรู้ข้อมูลข่าวสารทุกด้านได้อย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ข้อมูลข่าวสารเหล่านั้น บางอย่างมีคุณประโยชน์ แต่บางอย่างอาจมีโทษแฝงอยู่ หากบุคคลปักใจเชื่อทุกเรื่องทุกอย่างโดยไม่ไตร่ตรองให้รอบคอบแล้ว อาจก่อให้เกิดผลเสียหายทั้งแก่ตนเอง และผู้อื่นได้ ดังนั้น เมื่อบัณฑิตได้รับข้อมูลข่าวสารไม่ว่าเรื่องใดก็ตาม จะต้องพินิจพิเคราะห์เรื่องนั้นให้ลึกซึ้งทุกแง่ทุกมุม ด้วยการจำแนกแยกแยะให้เห็นรายละเอียดต่างๆ ทั้งส่วนที่เป็นเหตุส่วนที่เป็นผล ลำดับความเกี่ยวเนื่องของเหตุและผล ตลอดจนแหล่งที่มาและจุดหมายในการเสนอข้อมูลข่าวสารนั้นๆ ด้วย จากนั้นค่อยวินิจฉัยตัดสิน โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ที่มีอยู่เป็นพื้นฐาน ว่าข้อมูลข่าวสารดังกล่าวมีเนื้อหาสาระที่ควรแก่การเชื่อถือมากน้อยเพียงใด ทำได้ดังนี้ บัณฑิตก็จะไม่หลงผิด เชื่อผิด และสามารถเลือกสรรเฉพาะข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง เป็นจริงไปปรับใช้ให้เป็นประโยชน์ในการดำเนินชีวิต และประกอบกิจการงานได้ จึงขอฝากให้บัณฑิตนำไปพิจารณา และหมั่นฝึกฝนปฏิบัติให้เชี่ยวชาญจัดเจน แหล่งข้อมูล
Subscribe to:
Posts (Atom)