แนวคิด Library 2.0 เกิดจากความแพร่หลายของเทคโนโลยี Web 2.0 ซึ่งเปลี่ยนแบบการเข้าถึงสารสนเทศของผู้ใช้ จากเดิมทำให้ผู้ใช้เข้าถึงสารสนเทศเอง แต่ปรับรูปแบบให้สารสนเทศไปถึงผู้ใช้ โดยผู้ใช้สารสนเทศไม่ต้องร้องขอ ซึ่งจะทำให้การเข้าใช้สารสนเทศห้องสมุดแพร่หลายและถึงผู้ใช้ตามความสนใจได้รวดเร็วยิ่งขึ้น การใช้แนวคิด Library 2.0 จึงเป็นการปรับเปลี่ยนรูปแบบเว็บไซต์ห้องสมุด ซึ่งเป็นรูปแบบการนำเสนอเว็บไซต์แบบเดิม
Library Automation Software
แนวคิดของ Library 2.0 จะเกิดขึ้น เมื่อห้องสมุดมีฐานข้อมูลทรัพยากรห้องสมุดแล้ว ซึ่งเรียกว่า Library Catalog โดยการใช้โปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ การใช้ OPAC เดิม สามารถเพิ่มการใช้งานให้ใช้กับ RSS feed เพื่อให้ผู้ใช้ดึงข้อมูลจาก Subject นั้นมาแสดงผลในเว็บของผู้ใช้แต่ละคนเองได้
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ Web2.0
What is a semantic web?
Library Trends 2007
Wednesday, May 30, 2007
Monday, May 28, 2007
Web 2.0 / Library 2.0
Web 2.0
Web 1.0 Web 2.0
DoubleClick --> Google AdSense
Ofoto --> Flickr
Akamai --> BitTorrent
mp3.com --> Napster
Britannica Online --> Wikipedia
personal websites --> blogging
evite --> upcoming.org and EVDB
domain name speculation --> search engine optimization
page views --> cost per click
screen scraping --> web services
publishing --> participation
content management systems --> wikis
directories (taxonomy) --> tagging ("folksonomy")
stickiness --> syndication
Library2.0
Library 2.0 reading list
Princeton Becomes Twelfth Library To Join GooglePrinceton is the twelfth institution to join the Google Books Library Project, joining Harvard, Oxford, Stanford, the University of California, the University of Michigan, the University of Texas-Austin, the University of Virginia, the University of Wisconsin-Madison, the New York Public Library, the University Complutense of Madrid, and the National Library of Catalonia.
Today's most used social-software tools, including:
Weblogs (blogs)
Podcasts
RSS feeds
Instant Messaging (IM)
Wikis
Flickr
Michael Stephens on 5 things libraries can do to get started on a 2.0 path:
Start a library blog
Create an Emerging Technology Committee
Train staff to use an RSS aggregator
Experiment and use 2.0 Tools
Implement IM reference
Web 2.0, Library 2.0, and Librarian 2.0: Preparing for the 2.0 World
Librarian 2.0
Librarian 2.0 is the guru of the information age. Librarian 2.0 strives to
-Understand the power of the Web 2.0 opportunities
-Learn the major tools of Web 2.0 and Library 2.0
-Combine e-resources and print formats and is container and format agnostic
-Is device independent and uses and delivers to everything from laptops to PDAs to iPods
-Develop targeted federated search and adopts the OpenURL standard
-Connect people and technology and information in context
-Doesn’t shy away from non-traditional cataloging and classification and chooses tagging, tag clouds, folksonomies, and user-driven content descriptions and classifications where appropriate
-Embrace non-textual information and the power of pictures, moving images, sight, and sound
-Understand the “long tail” and leverages the power of old and new content
-See the potential in using content sources like the Open Content Alliance, Google Print, and Open WorldCat
-Connect users to expert discussions, conversations, and communities of practice and participates there as well
-Use the latest tools of communication (such as Skype) to connect content, expertise, information coaching, and people
-Use and develops advanced social networks to enterprise advantage
-Connect with everyone using their communication mode of choice – telephone, Skype, IM, SMS, texting, email, virtual reference, etc.
-Encourage user driven metadata and user developed content and commentary
-Understand the wisdom of crowds and the emerging roles and impacts of the blogosphere, Web syndicasphere and wikisphere
Library 2.0 at Sripatum University Library
Web 1.0 Web 2.0
DoubleClick --> Google AdSense
Ofoto --> Flickr
Akamai --> BitTorrent
mp3.com --> Napster
Britannica Online --> Wikipedia
personal websites --> blogging
evite --> upcoming.org and EVDB
domain name speculation --> search engine optimization
page views --> cost per click
screen scraping --> web services
publishing --> participation
content management systems --> wikis
directories (taxonomy) --> tagging ("folksonomy")
stickiness --> syndication
Library2.0
Library 2.0 reading list
Princeton Becomes Twelfth Library To Join GooglePrinceton is the twelfth institution to join the Google Books Library Project, joining Harvard, Oxford, Stanford, the University of California, the University of Michigan, the University of Texas-Austin, the University of Virginia, the University of Wisconsin-Madison, the New York Public Library, the University Complutense of Madrid, and the National Library of Catalonia.
Today's most used social-software tools, including:
Weblogs (blogs)
Podcasts
RSS feeds
Instant Messaging (IM)
Wikis
Flickr
Michael Stephens on 5 things libraries can do to get started on a 2.0 path:
Start a library blog
Create an Emerging Technology Committee
Train staff to use an RSS aggregator
Experiment and use 2.0 Tools
Implement IM reference
Web 2.0, Library 2.0, and Librarian 2.0: Preparing for the 2.0 World
Librarian 2.0
Librarian 2.0 is the guru of the information age. Librarian 2.0 strives to
-Understand the power of the Web 2.0 opportunities
-Learn the major tools of Web 2.0 and Library 2.0
-Combine e-resources and print formats and is container and format agnostic
-Is device independent and uses and delivers to everything from laptops to PDAs to iPods
-Develop targeted federated search and adopts the OpenURL standard
-Connect people and technology and information in context
-Doesn’t shy away from non-traditional cataloging and classification and chooses tagging, tag clouds, folksonomies, and user-driven content descriptions and classifications where appropriate
-Embrace non-textual information and the power of pictures, moving images, sight, and sound
-Understand the “long tail” and leverages the power of old and new content
-See the potential in using content sources like the Open Content Alliance, Google Print, and Open WorldCat
-Connect users to expert discussions, conversations, and communities of practice and participates there as well
-Use the latest tools of communication (such as Skype) to connect content, expertise, information coaching, and people
-Use and develops advanced social networks to enterprise advantage
-Connect with everyone using their communication mode of choice – telephone, Skype, IM, SMS, texting, email, virtual reference, etc.
-Encourage user driven metadata and user developed content and commentary
-Understand the wisdom of crowds and the emerging roles and impacts of the blogosphere, Web syndicasphere and wikisphere
Library 2.0 at Sripatum University Library
Wednesday, May 23, 2007
Tuesday, May 22, 2007
Wednesday, May 16, 2007
Friday, May 11, 2007
eXe elearning xhtml editor
eXe xhtml editor for ebook
The eXe project is developing an Open Source authoring application to assist teachers and academics in the publishing of web content without the need to become proficient in HTML or XML markup. eXe can export content as self-contained web pages or as SCORM 1.2 or IMS Content Packages
elearning opensource
eXe Blog
What is eXe?
Forum
Documents
มหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย
eXe Manual
Dublin Core Metadata
The eXe project is developing an Open Source authoring application to assist teachers and academics in the publishing of web content without the need to become proficient in HTML or XML markup. eXe can export content as self-contained web pages or as SCORM 1.2 or IMS Content Packages
elearning opensource
eXe Blog
What is eXe?
Forum
Documents
มหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย
eXe Manual
Dublin Core Metadata
Saturday, May 05, 2007
Global Warming
global warming
Effects of Climate Change
ภาวะโลกร้อน
นักวิทยาศาสตร์กว่า 2,000 คน และผู้แทนจาก 120 ประเทศได้ประชุมปรึกษาหารือกันว่าด้วยเรื่องโลกร้อน ที่กรุงบรัสเซลล์เป็นระยะตลอดปี 2550 เมื่อต้นเดือนเมษายน ที่ประชุมได้ออกรายงานมาสองฉบับ หลังจากที่ใช้เวลานานพอสมควรถกเถียงกันในปัญหาเรื่อง “คำ” ระหว่างนักวิทยาศาสตร์ชั้นนำของโลกซึงเป็นผู้ร่างรายงานและผู้แทนอื่น เพราะนักวิทยาศาสตร์ได้ศึกษาข้อมูลไว้มากมาย และต้องการใส่ทั้งหมดไว้ในรายงานเพื่อเน้นให้เห็นถึงภัยอันตรายในอนาคตจากภาวะโลกร้อนที่โลกจะเผชิญ แต่ผู้แทนอื่นเห็นว่า ถ้าใส่ทุกอย่างหมดตามที่นักวิทยาศาสตร์ต้องการ คงต้องขยายแผนที่โลกให้ใหญ่ขึ้นจะได้ใส่ทุกอย่างลงไปได้ ที่ประชุมใช้เวลาอย่างมากเรียกว่าแทบจะดูกันทุกบันทัดใน “รายงานสรุปสำหรับผู้บริหาร” 21 หน้า เพื่อส่งไปให้คณะมนตรีความมั่นคงสหประชาชาติ ในที่สุดสองฝ่ายก็ประนีประนอมกันได้ในจุดหนึ่ง ในขณะที่นักวิทยาศาสตร์อีกหลายคนยังไม่ค่อยพอใจ
ในรายงานฉบับเดือนกุมภาพันธ์ 2550 เป็นการสรุปถึงสาเหตุที่ทำให้โลกร้อนขึ้น ส่วนรายงานฉบับเดือนเมษายน 2550 พูดถึงว่า แล้วเราจะทำอย่างไรต่อไปกับโลกที่ร้อนขึ้น แต่ทั้งสองรายงานมีประเด็นสำคัญอยู่ที่ทุกฝ่ายยอมรับว่า “มีความเป็นไปได้สูงมาก” ที่บรรยากาศของโลกร้อนขึ้น ระดับน้ำทะเลสูงขึ้น และภูเขาน้ำแข็งกับหิมะละลายกว้างขวางมากขึ้น รายงานสรุปว่า ทั้งหมดเป็นฝีมือของมนุษย์ที่สร้างควันพิษสู่ชั้นบรรยากาศ ทำให้โลกร้อนขึ้นทั้งกลางวันและกลางคืน มีคลื่นความร้อนมากกว่าก่อน มีฝนตกหนักกว่าก่อน มีภัยแล้งเพิ่มขึ้นและขยายกว้างขวางในหลายพื้นที่ มีพายุไซโคลนมากขึ้น ระดับน้ำทะเลสูงขึ้น โลกร้อนขึ้นส่งผลกระทบต่อคนพัน ๆล้านคน
รายงานสรุปด้วยว่า ถ้าสภาวะเรือนกระจกเช่นนี้ยังดำเนินต่อไปในระดับปัจจุบัน จะก่อให้บรรยากาศของโลกเปลี่ยนไปในคริสตศตวรรษที่ 21 มากกว่าศตวรรษก่อน คาดกันว่าใน พ.ศ. 2553 บรรยากาศของโลกจะร้อนขึ้นอีก 1.8 ถึง 4 องศาเซลเชียส แม้เราจะช่วยกันทำให้สภาวะเรือนกระจกอยู่ในระดับเดิม แต่โลกจะยังร้อนต่อไปอีกหลายศตวรรษ (http://www.the-thainews.com/analized/inter/int010550_12.htm)
Links to articles
Greenhouse effect
Climate
Effects of Climate Change
ภาวะโลกร้อน
นักวิทยาศาสตร์กว่า 2,000 คน และผู้แทนจาก 120 ประเทศได้ประชุมปรึกษาหารือกันว่าด้วยเรื่องโลกร้อน ที่กรุงบรัสเซลล์เป็นระยะตลอดปี 2550 เมื่อต้นเดือนเมษายน ที่ประชุมได้ออกรายงานมาสองฉบับ หลังจากที่ใช้เวลานานพอสมควรถกเถียงกันในปัญหาเรื่อง “คำ” ระหว่างนักวิทยาศาสตร์ชั้นนำของโลกซึงเป็นผู้ร่างรายงานและผู้แทนอื่น เพราะนักวิทยาศาสตร์ได้ศึกษาข้อมูลไว้มากมาย และต้องการใส่ทั้งหมดไว้ในรายงานเพื่อเน้นให้เห็นถึงภัยอันตรายในอนาคตจากภาวะโลกร้อนที่โลกจะเผชิญ แต่ผู้แทนอื่นเห็นว่า ถ้าใส่ทุกอย่างหมดตามที่นักวิทยาศาสตร์ต้องการ คงต้องขยายแผนที่โลกให้ใหญ่ขึ้นจะได้ใส่ทุกอย่างลงไปได้ ที่ประชุมใช้เวลาอย่างมากเรียกว่าแทบจะดูกันทุกบันทัดใน “รายงานสรุปสำหรับผู้บริหาร” 21 หน้า เพื่อส่งไปให้คณะมนตรีความมั่นคงสหประชาชาติ ในที่สุดสองฝ่ายก็ประนีประนอมกันได้ในจุดหนึ่ง ในขณะที่นักวิทยาศาสตร์อีกหลายคนยังไม่ค่อยพอใจ
ในรายงานฉบับเดือนกุมภาพันธ์ 2550 เป็นการสรุปถึงสาเหตุที่ทำให้โลกร้อนขึ้น ส่วนรายงานฉบับเดือนเมษายน 2550 พูดถึงว่า แล้วเราจะทำอย่างไรต่อไปกับโลกที่ร้อนขึ้น แต่ทั้งสองรายงานมีประเด็นสำคัญอยู่ที่ทุกฝ่ายยอมรับว่า “มีความเป็นไปได้สูงมาก” ที่บรรยากาศของโลกร้อนขึ้น ระดับน้ำทะเลสูงขึ้น และภูเขาน้ำแข็งกับหิมะละลายกว้างขวางมากขึ้น รายงานสรุปว่า ทั้งหมดเป็นฝีมือของมนุษย์ที่สร้างควันพิษสู่ชั้นบรรยากาศ ทำให้โลกร้อนขึ้นทั้งกลางวันและกลางคืน มีคลื่นความร้อนมากกว่าก่อน มีฝนตกหนักกว่าก่อน มีภัยแล้งเพิ่มขึ้นและขยายกว้างขวางในหลายพื้นที่ มีพายุไซโคลนมากขึ้น ระดับน้ำทะเลสูงขึ้น โลกร้อนขึ้นส่งผลกระทบต่อคนพัน ๆล้านคน
รายงานสรุปด้วยว่า ถ้าสภาวะเรือนกระจกเช่นนี้ยังดำเนินต่อไปในระดับปัจจุบัน จะก่อให้บรรยากาศของโลกเปลี่ยนไปในคริสตศตวรรษที่ 21 มากกว่าศตวรรษก่อน คาดกันว่าใน พ.ศ. 2553 บรรยากาศของโลกจะร้อนขึ้นอีก 1.8 ถึง 4 องศาเซลเชียส แม้เราจะช่วยกันทำให้สภาวะเรือนกระจกอยู่ในระดับเดิม แต่โลกจะยังร้อนต่อไปอีกหลายศตวรรษ (http://www.the-thainews.com/analized/inter/int010550_12.htm)
Links to articles
Greenhouse effect
Climate
Subscribe to:
Posts (Atom)