Sunday, August 30, 2009

IBC101 2009

IBC101 Access to Library and Information Systems
NEXT CLASS is 30 November, 11.30 AM - 6.00 PM

Instructor
: Assoc.Prof.Dr.Namtip Wipawin
Contact address: nwipawin@gmail.com, Website: http://dekkid.blogspot.com IBC101 or http://dekkid.blogspot.com/search?q=IBC101

Objective:
The primary objective of the course is to develop students who are aware of the complex nature of the information environment and who can skillfully navigate their way through the information technology environment. This course will allow students to be able to identify information they need, to critically evaluate information, to organize information and to use information effectively.

Contents:
Chapter 1 : Data, Information, Knowledge, Wisdom
Exercise 1: Learning skills, How to use information to solve a problem.
1.What do you just read?
2.Why imagination is more important than knowledge?
3.Why do you seek for information?
4.What topic do you know best?Why?
5.What websites do you like most? Why?
Chapter 2: Information Literacy Skills.
Exercise 2: Using Big 6 skills
Chapter 3 : Sources of knowledge, libraries, etc.Exercise 3: Visit the library , how to use information.
1.Journal & Magazine
Give examples
2.DC & LC Classification
3. access the Library website : What is the Call number?
4.What are sources of knowledge? Identify as much as you know.
5.What do you read this week?
Chapter 4 : Reference sources
Exercise 4 : The difference of reference sources
Chapter 5 : Online catalog and databases
Exercise 5 : How to use online catalog and databases
Hotel database
Library Catalog
OPAC
e-Book, e-Journal
Chapter 6 : Report writing and citation
Exercise 6 : Write report and citation
Chapter 7 : Internet and useful websites
Exercise 7 : Pro. and Con. of Internet
Chapter 8 : Search engines and search tools
Exercise 8 : Comparing search tools
Web search engines
Web subject directories
Meta-Search engines

Chapter 9 : Evaluating Sources of Information
Methods:
Here are some methods of evaluation and testing:

Interview
Questionnaire
Observation
Discussion
Survey
Analysis of records and data
Evaluation: A practical guide to methods
Exercise 9 : Better information sources
Rubric Assessments
Chapter 10 : Information Technology
ICT Systems
ICT in education
IT tutorials
Information Age: Exercises
Exercise 10 : How to use IT to imporove learning skills
Chapter 11 : Information Systems
Exercise 11 : Examples of information systems
Go to the library database:
http://library.spu.ac.th/e-library/database.html
Find the case study of
Information Technology
Information System
Knowledge Management
Copyright & Fair Use
Bring the one case in your web blog to discuss with your teacher.
Chapter 12 : Knowledge Management
Exercise 12 : How to build a knowledge community
Chapter 13: Copyright and Fair Use
Exercise 13 : Case of copyright and fair use.
Chapter 14 : Information Packaging and Presentation.
Exercise 14 : Using information for good presentation skills

Evaluation: Exercises+Blog 20 marks, Midterm 20 marks, Final 60 marks.
Chapter 1 Data, Information, Knowledge, and Wisdom

DIKW
Information & Knowledge
Skills and Strategies for Effective Learning
Problem-Solving Skills
Learning skills
Chapter 2
What is Information Literacy? And why should I care?
Definition of IL

“Knowledge is of two kinds: We know a topic for ourselves, or we know where we can find information upon it”. – Dr. Samuel Johnson 1775

“To know where you can find anything that in short is the largest part of learning”. - Anonymous
Big6 Skills

Chapter 3 Sources of Knowledge
SPU Library
The purposes of the library are for information,education, research, inspiration, and recreation.
OPAC searching

What is OPAC?
An Online Public Access Catalog or OPAC is a computerized online catalog of the materials held in a library, or library system. The library staff and the public can usually access it at computers within the library, or from home. OPAC terminals began to replace card catalogs in many libraries in the 1980s. Since the mid-1990s, these systems have increasingly migrated to Web-based interfaces. OPACs are often part of an integrated library system. Source.
Library Classification
1.Library of Congress Classification (L.C.)

A -- GENERAL WORKS
B -- PHILOSOPHY. PSYCHOLOGY. RELIGION
C -- AUXILIARY SCIENCES OF HISTORY
D -- WORLD HISTORY AND HISTORY OF EUROPE, ASIA, AFRICA, AUSTRALIA, NEW ZEALAND, ETC.
E -- HISTORY OF THE AMERICAS
F -- HISTORY OF THE AMERICAS
G -- GEOGRAPHY. ANTHROPOLOGY. RECREATION
H -- SOCIAL SCIENCES
J -- POLITICAL SCIENCE
K -- LAW
L -- EDUCATION
M -- MUSIC AND BOOKS ON MUSIC
N -- FINE ARTS
P -- LANGUAGE AND LITERATURE
Q -- SCIENCE
R -- MEDICINE
S -- AGRICULTURE
T -- TECHNOLOGY
U -- MILITARY SCIENCE
V -- NAVAL SCIENCE
Z -- BIBLIOGRAPHY. LIBRARY SCIENCE. INFORMATION RESOURCES (GENERAL)
2. Dewey Decimal Classification (D.C.or DDC.) Compare L.C. and D.C.
The system is made up of ten main classes or categories, each divided into ten secondary classes or subcategories, each having ten subdivisions of its own. For a more detailed list, see List of Dewey Decimal classes.

000 – Computer science, information, and general works
100 – Philosophy and psychology
200 – Religion
300 – Social sciences
400 – Language
500 – Science
600 – Technology
700 – Arts and recreation
800 – Literature
900 – History and geography

Call number :An identification number, which identifies and locates material within a library.
Understanding Call number
a sample call number: QE534.2.B64



Exercises
Kate
Repeeporn
Sunisa
Varun
Suchada
**
***
Mantana
Nongnooch
Paphat
Witsanu
Bhumipat
Holger
Hooman
Sasima
Pattarakanda
Tamita
Thita
Vachareeya
Siriwan
Phanupong
Nitchuwan
Panpimol
Meradee
Nittaya
Sitthichok
Suttasinee
Rapeeporn
Sunisa
Emma
Vivian
Anna
Borpit
Watinee
Chalatda
Miranda
jinny
Bee Panida
Mac
Sutat
Panadda
Wirada
Pitima
Prabsuok
Prabsuok




Library Classification

Dewey Decimal Class
Library of Congress Class

The chart includes all ninety-nine second level (two-digit) DDC classes (040 is not assigned), and should include all second level (two-digit) LCC classes. Where a class in one system maps to several classes in other system, it will be listed multiple times (e.g. DDC class 551).

Dewey Decimal Classification -- high level categories, with links to lower level categories
Library of Congress Classification -- high level categories

ChartDDC LCC Description
000 A Generalities
010 Z1001-8999 Bibliography
020 Z665-718.8 Library & information sciences
030 AE General encyclopedic works
050 AI General serials & their indexes
060 AM111-160 General organization & museology
070 AN News media
070 PN4699-5650 Journalism
070 Z278-549 Publishing
080 AC General collections
090 Z105-115.5 Manuscripts
090 Z1019-1033 Rare books
100 B Psychology & Philosophy

Saturday, August 15, 2009

การอ่านเป็นวาระแห่งชาติ

มติคณะรัฐมนตรี -- พฤหัสบดีที่ 6 สิงหาคม 2009 15:43:58 น.
คณะรัฐมนตรีพิจารณาเรื่องการส่งเสริมการอ่านให้เป็นวาระแห่งชาติเพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต ตามที่กระทรวงศึกษาธิการเสนอ แล้วมีมติเห็นชอบ ดังนี้
1. กำหนดให้การอ่านเป็นวาระแห่งชาติ
2. กำหนดให้วันที่ 2 เมษายน ของทุกปีเป็นวันรักการอ่าน
3. กำหนดให้ปี พ.ศ. 2552 — 2561 เป็นทศวรรษแห่งการอ่าน
4. กำหนดให้มีคณะกรรมการส่งเสริมการอ่านเพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต เป็นกลไกขับเคลื่อนการส่งเสริมการอ่านให้เกิดเป็นรูปธรรม
การส่งเสริมการอ่านให้เป็นวาระแห่งชาติเพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต มีสาระสำคัญดังนี้
1. วิสัยทัศน์ คนไทยทุกคนได้รับการพัฒนาความสามารถและปลูกฝังนิสัยรักการอ่านเพิ่มขึ้น ด้วยบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการอ่านเพื่อสร้างสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต
2. พันธกิจ
(1) ปลูกฝังคุณค่าการอ่านทุกรูปแบบ เพื่อเป็นวิถีในการค้นหาความรู้ และเรียนรู้ตลอดชีวิต แก่คนไทยทุกวัย
(2) พัฒนาความสามารถในการอ่าน เขียน และสื่อสารเชิงคิด วิเคราะห์ของคนไทยเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต
(3) พัฒนาสื่อ กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน และสร้างพื้นที่การอ่านเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต
(4) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนเพื่อพัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์
3. เป้าหมาย คนไทยได้รับการพัฒนาความสามารถในการอ่านและการรู้หนังสือ ภายในปี พ.ศ. 2555 โดยมีเป้าหมาย ดังนี้
(1) ประชากรวัยแรงงานที่เป็นผู้รู้หนังสือในระดับใช้งานได้ในชีวิตประจำวันเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 97.21 เป็นร้อยละ 99.00
(2) ประชากรไทยอายุ 15 ปีขึ้นไปที่สามารถอ่านออกเขียนได้มีเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 92.64 เป็นร้อยละ 95.00
(3) ค่าเฉลี่ยในการอ่านหนังสือของคนไทยเพิ่มขึ้นจากปีละ 5 เล่ม เป็นปีละ 10 เล่มต่อคน
(4) แหล่งการอ่านได้รับการพัฒนาและเพิ่มจำนวนให้สามารถจัดบริการได้ครอบคลุมทุกตำบล/ชุมชน อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ
(5) การสร้างภาคีเครือข่ายการอ่านเพื่อปลูกฝังนิสัยรักการอ่านและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน
4. ยุทธศาสตร์
(1) พัฒนาคนไทยให้มีความสามารถในด้านการอ่าน โดยรณรงค์การอ่านเขียนภาษาไทย ปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย รวมทั้งบริหารจัดการและสร้างภาคีเครือข่ายเพื่อพัฒนาความสามารถในด้านการอ่านของคนไทย
(2) พัฒนาคนไทยให้มีนิสัยรักการอ่าน โดยปลูกฝังและสร้างทัศนคติคนไทยให้เห็นคุณค่าและประโยชน์ของการอ่านหนังสือและสื่อทุกรูปแบบ ส่งเสริมสนับสนุนให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการเป็นภาคีเครือข่ายส่งเสริมการอ่าน และกำหนดมาตรการจูงใจให้ภาคีเครือข่ายร่วมส่งเสริมการอ่านในสังคมไทย
(3) สร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมในการส่งเสริมการอ่าน โดยแสวงหาภาคีเครือข่ายในการ เสริมสร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อม พัฒนาและเพิ่มจำนวนแหล่งการเรียนรู้ให้สามารถจัดบริการได้ครอบคลุมทุกตำบล/ชุมชน อย่างทั่วถึง ทันสมัย และมีคุณภาพ เพื่อทำให้การอ่านเป็นที่สนใจมากขึ้น
5. งบประมาณ
(1) งบประมาณสนับสนุนจากโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 ของกระทรวงศึกษาธิการ
(2) งบประมาณปกติของหน่วยงานและภาคีเครือข่าย

แหล่งข้อมูล

งานมหกรรมรักการอ่านเฉลิมพระเกียรติ

ผู้สื่อข่าวรายงานว่า วันนี้ (14 ส.ค.) ที่ห้องบางกอกคอนเวนชั่นฮอลล์ เซ็นทรัลลาดพร้าว มีการจัดงานมหกรรมนวัตกรรมการอ่านเทิดพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ และสร้างเสริมนิสัยรักการอ่านในเด็กและเยาวชนไทย จัดโดยกระทรวงศึกษาธิการ โดย นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์ รมว.ศึกษาธิการ กล่าวว่า งานดังกล่าวจัดขึ้นเพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติมหาราชินี โดยจัดขึ้นระหว่างวันที่ 14-16 ส.ค. ตั้งแต่เวลา 10.00-20.00 น. และที่สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เขต 1 ใน 75 จังหวัด พร้อมกันทั่วประเทศ ซึ่งมหกรรมรักการอ่านที่จัดขึ้นนี้ จะช่วยเสริมสร้างจินตนาการ และปลูกฝังนิสัยรักการอ่านให้แก่เด็กและเยาวชน ตลอนจนประชาชนมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ จากการสำรวจเรื่องนิสัยรักการอ่าน ปี 2551 พบว่า เด็กอายุตั้งแต่ 6 ปีขึ้นไป อ่านหนังสือที่ไม่ใช่หนังสือเรียน แต่เป็นหนังสือนอกเวลาเฉลี่ย 39 นาที และคนไทยทั่วประเทศอ่านหนังสือเพียง 5 เล่มต่อปี ดังนั้น การจัดกิจกรรมรักการอ่านหวังเป็นอย่างยิ่งว่า จะช่วยเพิ่มและสร้างนิสัยรักการอ่านให้เกิดขึ้นกับคนไทยได้อย่างทั่วถึง

นอกจากนี้ รมว.ศึกษาธิการ กล่าวว่า สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ได้ทรงพระราชทาน 10 กลวิธี สร้างนิสัยรักการอ่าน ได้แก่ 1.ใช้เวลาสบาย ๆ ของครอบครัว เพื่อส่งเสริมการอ่าน 2.เลือกหนังสือดีที่เด็กสนุก 3.ให้เด็กได้รู้เรื่องราวหลากหลายจากพหุวัฒนธรรม 4.มีกิจกรรมพัฒนาทักษะการคิด 5.ใช้ทักษะนาฎการในการเล่า 6.ใช้กิจกรรมศิลปะเชื่อมโยงกับการอ่าน 7.สอนให้รู้จักสกัดความรู้ และจับใจความสำคัญ 8.ต่อยอดจากประสบการณ์เดิมของผู้เรียน 9.นำเด็กสู่โลกวรรณคดี และ 10.พัฒนาทักษะไพรัชภาษาพาสู่โลกกว้าง เพื่อเผยแพร่ให้ประชาชนได้นำไปใช้ประโยชน์ ขณะเดียวกัน สมเด็จพระราชินีฯ ยังได้ทรงพระราชวิจารณ์หนังสือไทยที่น่าอ่านสำหรับเด็กและเยาวชนไทย 6 เรื่อง ประกอบด้วย พระอภัยมณี รามเกียรติ์ นิทานชาดก อิเหนา พระราชพิธีสิบสองเดือน และกาพย์เห่เรือ เจ้าฟ้ากุ้ง ทั้งนี้ ศธ.จะน้อมนำหนังสือที่พระองค์ได้ทรงพระราชวิจารณ์ จัดซื้อเข้าห้องสมุดประชาชน และห้องสมุดของ กศน.ทั่วประเทศ เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้อ่านหนังสือดีที่มีคุณค่า.
แหล่งข้อมูล